ประเด็นยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 สืบสาน รักษา ต่อยอดศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
เป้าประสงค์
๑. เกิดแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นทั้งภายในและภายนอก
๒. มีกิจกรรมสืบสาน รักษาวัฒนธรรม ประเพณีสำคัญของสังคมไทย
๓. เป็นฐานสืบค้นข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรม
๒. มีกิจกรรมสืบสาน รักษาวัฒนธรรม ประเพณีสำคัญของสังคมไทย
๓. เป็นฐานสืบค้นข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์
๑. ใช้กลไกความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและชุมชน และดำเนินการให้สอดคล้องบนฐานวิถีของชุมชน
๒. พัฒนารูปแบบการอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์อย่าง มีส่วนร่วม
๓. พัฒนาระบบฐานข้อมูลในการสืบค้นด้านศิลปวัฒนธรรม
๒. พัฒนารูปแบบการอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์อย่าง มีส่วนร่วม
๓. พัฒนาระบบฐานข้อมูลในการสืบค้นด้านศิลปวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด
๑.๑ แหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่สอดคล้อง กับวิถีของชุกับวิถีของชุมชน
๒.๑ กิจกรรมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น เชิงสร้างสรรค์และสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน
๒.๒ โครงการ/กิจกรรม ที่บรรลุความสำเร็จในการดำเนินงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมฯ (มีแผนทำนุฯ ระดับมหาวิทยาลัย)
๓.๑ ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรม (ทำเกณฑ์วัดระดับความสำเร็จ)
๒.๑ กิจกรรมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น เชิงสร้างสรรค์และสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน
๒.๒ โครงการ/กิจกรรม ที่บรรลุความสำเร็จในการดำเนินงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมฯ (มีแผนทำนุฯ ระดับมหาวิทยาลัย)
๓.๑ ความสำเร็จของการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรม (ทำเกณฑ์วัดระดับความสำเร็จ)
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาวังสวนบ้านแก้ว
เป้าประสงค์
๑. เป็นแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้พระราชประวัติ พระราช-กรณียกิจ และพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 ด้วยรูปแบบแนวคิดใหม่
๒. วังสวนบ้านแก้ว ได้รับการพัฒนาให้เป็นพื้นที่ทางสังคมเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดพื้นที่ทางสังคมเชิงสร้างสรรค์
๒. วังสวนบ้านแก้ว ได้รับการพัฒนาให้เป็นพื้นที่ทางสังคมเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดพื้นที่ทางสังคมเชิงสร้างสรรค์
กลยุทธ์
๑. พัฒนารูปแบบการนำเสนอข้อมูลพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ และพระมหากรุณาธิคุณด้วยรูปแบบแนวคิดใหม่
๒. การสร้างมุมมองใหม่ด้วยภาพลักษณ์ของวังสวนบ้านแก้วต่อสาธารณชน และเพิ่มขีดความสามารถการให้บริการการท่องเที่ยว
๒. การสร้างมุมมองใหม่ด้วยภาพลักษณ์ของวังสวนบ้านแก้วต่อสาธารณชน และเพิ่มขีดความสามารถการให้บริการการท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด
๑.๑ รูปแบบการนำเสนอข้อมูล ของวังสวนบ้านแก้ว ที่มีการพัฒนา ปรับปรุงให้น่าสนใจ ด้วยแนวคิดการนำเสนอใหม่
๒.๑ กิจกรรมจากภายนอกที่เข้ามาใช้พื้นที่วังสวนบ้านแก้ว (EVENT ระดับจังหวัด ภูมิภาค หรือ ประเทศ)
๒.๒ นักท่องเที่ยวจากภายนอก เข้ามาเยี่ยมชม เรียนรู้วังสวนบ้านแก้ว (พันคน)
๒.๓ ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการวังสวนบ้านแก้ว เป็นพื้นที่ทางสังคม (บุคคลภายในและภายนอก-ทำแบบสอบถาม)
๒.๑ กิจกรรมจากภายนอกที่เข้ามาใช้พื้นที่วังสวนบ้านแก้ว (EVENT ระดับจังหวัด ภูมิภาค หรือ ประเทศ)
๒.๒ นักท่องเที่ยวจากภายนอก เข้ามาเยี่ยมชม เรียนรู้วังสวนบ้านแก้ว (พันคน)
๒.๓ ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการวังสวนบ้านแก้ว เป็นพื้นที่ทางสังคม (บุคคลภายในและภายนอก-ทำแบบสอบถาม)
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาท้องถิ่นสู่ความยั่งยืน
เป้าประสงค์
๑. เกิดองค์ความรู้ นวัตกรรม หรือการนำไปใช้ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นในมิติศิลปวัฒนธรรมฯ
๒. เกิดชุมชนต้นแบบที่ประสบความสำเร็จด้านการพัฒนา
๒. เกิดชุมชนต้นแบบที่ประสบความสำเร็จด้านการพัฒนา
กลยุทธ์
๑. มีการจัดการความรู้ หรือศึกษาองค์ความรู้ หรือการสร้างนวัตกรรมชุมชนแล้วนำไปใช้แก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่
๒. เสริมพลังชุมชนด้วยกระบวนการพัฒนาชุมชน
๒. เสริมพลังชุมชนด้วยกระบวนการพัฒนาชุมชน
ตัวชี้วัด
๑.๑ องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น (มีการศึกษา รวบรวม และเรียบเรียนองค์ความรู้ เผยเพร่ในฐานข้อมูลศิลปวัฒนธรรมฯ)
๑.๒ องค์ความรู้/งานวิจัย นวัตกรรมที่นำไปใช้เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นในมิติศิลปวัฒนธรรมฯ
๒.๑ ชุมชนต้นแบบ ที่ประสบความสำเร็จด้านการพัฒนา โดยเกิดจากกระบวนการพัฒนา ที่สำนักศิลปวัฒนธรรมฯ ลงไปดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
๑.๒ องค์ความรู้/งานวิจัย นวัตกรรมที่นำไปใช้เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นในมิติศิลปวัฒนธรรมฯ
๒.๑ ชุมชนต้นแบบ ที่ประสบความสำเร็จด้านการพัฒนา โดยเกิดจากกระบวนการพัฒนา ที่สำนักศิลปวัฒนธรรมฯ ลงไปดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การบริหารจัดการสมัยใหม่
เป้าประสงค์
๑. เกิดพลังเครือข่ายศิลปวัฒนธรรม เสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารองค์กร
๒. บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ มีทักษะที่เหมาะสม มีความสุข และผูกพันต่อองค์กร
๓. มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดหารายได้
๒. บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพ มีทักษะที่เหมาะสม มีความสุข และผูกพันต่อองค์กร
๓. มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดหารายได้
กลยุทธ์
๑. สร้างเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม ในระดับชาติและนานาชาติ้
๒. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีสมรรถนะ ทักษะและความก้าวหน้าทางสายงาน
๓. พัฒนากระบวนการการจัดหารายได้จากภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ้
๒. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีสมรรถนะ ทักษะและความก้าวหน้าทางสายงาน
๓. พัฒนากระบวนการการจัดหารายได้จากภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ้
ตัวชี้วัด
๑.๑ โครงการที่ดำเนินการร่วมกันกับ เครือข่ายที่เกิดจากบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือเจตจำนงในการร่วมมือภายในประเทศ
๑.๒ โครงการที่ดำเนินการร่วมกันกับ เครือข่ายที่เกิดจากบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือเจตจำนงในการร่วมมือระดับสากล้
๒.๑ บุคลากรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาทักษะการทำงานด้านศิลปวัฒนธรรม หรือ การทำงานเชิงพื้นที่ หรือ ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการทำงานพัฒนา(มีใบรับรอง/หลักสูตร)
๓.๑ การจัดหารายได้เพิ่มขึ้นจากวังสวนบ้านแก้ว้
๑.๒ โครงการที่ดำเนินการร่วมกันกับ เครือข่ายที่เกิดจากบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือเจตจำนงในการร่วมมือระดับสากล้
๒.๑ บุคลากรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาทักษะการทำงานด้านศิลปวัฒนธรรม หรือ การทำงานเชิงพื้นที่ หรือ ทักษะที่เกี่ยวข้องกับการทำงานพัฒนา(มีใบรับรอง/หลักสูตร)
๓.๑ การจัดหารายได้เพิ่มขึ้นจากวังสวนบ้านแก้ว้
ติดต่อ : สำนักศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาชุมชน
๔๑ หมู่ที่ ๕ ตำบลท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี ๒๒๐๐๐ | โทร. ๐๓๙-๔๗๑๐๖๔,๐๓๙-๓๑๙๑๑๑ ต่อ ๗๐๐๑